กักกรชาดก ชาดกว่าด้วยผู้ฉลาดเอาตัวรอดได้
ครั้งนั้นมีศิษย์ของพระสารีบุตรรูปหนึ่ง ได้ยินว่าภิกษุรูปนั้นเป็นผู้ฉลาดในการดูแลสุขภาพของตนเอง ไม่ฉันของเย็นจัด ร้อนจัด เพราะเกรงว่าร่างกายจะไม่สบาย ไม่ออกไปข้างนอกเพราะเกรงว่าร่างกายจะกระทบหนาวและร้อนไม่ฉันจังหันที่แฉะและเป็นท้องเลน
สีลานิสังสชาดก ชาดกว่าด้วยอานิสงส์ของศีล
ณ ที่นี้ นอกจากพระรัตนตรัยแล้ว เราก็ไม่มีที่พึ่งอื่นใด ฉะนั้นแล้วเราจะระลึกถึงคุณพระรัตนตรัยนี่แหละเป็นที่พึ่งยามคับขัน ขณะที่พระอริยสาวกเจ้าระลึกถึงคุณพระรัตนตรัยอยู่นั้น พลันพญานาคราชที่อาศัยอยู่บนเกาะแห่งนั้นก็ปรากฎกายขึ้นมา หลังพญานาคปรากฏกายขึ้นมาเหนือผืนน้ำได้มานาน ก็เนรมิตร่างกายของตัวเองให้เป็นเรือสำเภาลำใหญ่เต็มไปด้วยรัตนเจ็ดประการ
กุรุงคมิคชาดกว่าด้วยการร่วมด้วยช่วยกัน
กุรุงคมิคชาดก เป็นเรื่องของสัตว์ 3 ตัว คือ เต่า นกสตปัตตะ กวาง สัตว์ทั้งสามตัวเป็นเพื่อนรักกัน และเหตุที่ทุกตัวไม่คาดคิดก็เกิดขึ้น เจ้ากวางถูกกับดักติดบ่วงของนายพราน เพื่อนรักอย่างเจ้านกและเจ้าเต่าจะมีวิธการช่วยเหลือเพื่อนกวางได้หรือไม่? อย่างไร?.....
วัณณุปถชาดกว่าด้วยความเพียรไม่เกียจคร้าน
วัณณุปถชาดก ว่าด้วยเรื่องของนายวาณิชผู้มีความเพียรไม่เกียจคร้าน สามารถช่วยเหลือเหล่าบริวารที่ต่างพากันสิ้นหวังกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นท่ามกลางทะเลทรายที่ร้อนระอุ ไม่มีอาหาร ไม่มีแม้แต่น้ำ!!
วลาหกัสสชาดก ชาดกว่าด้วยความสวัสดี
"ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย หากเหล่าภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกาผู้ใดไม่ทำตามคำสั่งสอน ที่เราตถาคต แสดงไว้ดีแล้ว ผู้นั้นย่อมจะต้องถึงความพินาศ ย่อมถึงความทุกข์ใหญ่ในอบาย ๔ (คือได้นรก ดิรัจฉาน เปรต อสุรกาย) เปรียบเสมือนพวกพ่อค้า ที่ถูกนางยักษิณี หลอกลวงให้ตกอยู่ในอำนาจ ต้องสิ้นชีวิตไป ฉะนั้น
สุวรรณกักกฏชาดก ชาดกว่าด้วยปูทองผู้ฉลาด
พระศาสดาเมื่อประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน ทรงปรารภการ เสียสละชีพของพระอานนทเถระเพื่อพระองค์ ดังนี้แล้วพระองค์จึงทรงนำเรื่องในอดีตมาสาทกดังต่อไปนี้...กาลครั้งหนึ่งนานพระโพธิ์สัตว์เกิดเป็นพราหมณ์ในหมู่บ้านแห่งหนึ่ง มีอาชีพกสิกรรม
สุขวิหารีชาดก ชาดกว่าด้วยสุขอันเกิดจากการบรรพชา
สมเด็จพระภัททิยะตัดสินพระทัยออกผนวชในพระพุทธศาสนา ได้บำเพ็ญเพียรจนหมดกิเลสเป็นพระอรหันต์ เดินทางภิกขาจารไปทุกหนทุกแห่งโดยลำพัง พระองค์ได้พบกับความสุขอย่างแท้จริง ด้วยไม่ข้องอยู่กับอิสริยยศและอันตราย จึงเปล่งอุทานขึ้นว่า “ เฮ้อ สุขจริงหนอ สุขจริง ”
ฌานโสธนชาดก ชาดกว่าด้วยสุขเกิดจากสมาบัติ
ในสมัยพุทธกาลเมื่อครั้งที่พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหารทรงปรารภการที่พระสารีบุตรสามารถพยากรณ์ปัญหาที่พระองค์ตรัสถามโดยย่อได้อย่างพิศดาร ณ ประตูสังกัสนคร
กุมมาสปิณฑชาดก ชาดกว่าด้วยอานิสงส์ถวายขนมกุมมาส
ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ อะไรหนอเป็นเหตุ เป็นปัจจัยในการแย้มสรวลของพระองค์ ” “ ดูกร อานนท์ กุมาริกาผู้นี้จักได้เป็นอัครมเหสีของพระเจ้าโกศลในวันนี้ทีเดียว เพราะผลแห่งการถวายก้อนขนมกุมมาสเหล่านี้ ”
กูฏวาณิชชาดก ชาดกว่าด้วยหนามยอกเอาหนามบ่ง
นายบัณฑิตนั้นไม่ใช่คนโง่ เขาสังเกตเห็นพิรุจหลายอย่างจึงคิดพิสูจน์ว่ารุกขเทวดาที่ต้นไม้นั้นมีอยู่จริงหรือไม่ “ สหายจะให้เราเชื่อเช่นนั้นก็ได้ แต่เราขอพิสูจน์ให้แน่ใจก่อนนะ ” นายบัณฑิตได้เดินไปเก็บฟืนแล้วนำกองไว้ที่โคนต้นไม้ จุดไฟเผาในโพรงไม้นั้น “….เดี๋ยวเถอะจะได้รู้กันว่าเทวดาจริงหรือเทวดาปลอมกันแน่...”